en
th
en
th

"วิเชียรมาศ" หรือ แมวสยาม คำว่าวิเชียรมาศ แปลว่า เพชรแห่งดวงจันทร์ สมัยอยุธยามีการเลี้ยงแมววิเชียรมาศโดยเชื่อว่าคือแมวมงคล เลี้ยงแล้วนำโชคลาภมาให้ผู้เลี้ยง ซึ่งวิเชียรมาศมีชื่อเสียงโด่งดังในต่างประเทศ เพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ทรงพระราชทานลูกแมวคู่หนึ่งให้แก่ทูตอังกฤษ ให้เลี้ยงดูอย่างดีจนมีโอกาสได้เข้าประกวดในเวที The Crytal Palace Landon จนได้รางวัลชนะเลิสทำให้แมวสยามเป็นที่รู้จัก ลักษณะเด่นของแมววิเชียรมาศ คือ นัยน์ตาสีฟ้า ขนสั้นและหนา ตอนเด็กขนมีสีครีม โตมาเป็นสีขาวงาช้าง แต้มน้ำตาลอ่อนหรือสีครั่งบริเวณ หูทั้งสองข้าง เท้าทั้งสี่ อวัยวะเพศ และหาง ใบหน้าแหลม หน้าผากใหญ่ จมูกสั้น ใบหูใหญ่ มีนิสัยปราดเปรียว ท่าทางสง่า รักเจ้าของ

"ภาพลิงแม่ค้ากำลังพายเรือขายผลไม้ สื่อให้เห็นถึงวิถีชีวิตของคนไทยในอดีต ที่มักจะตั้งถิ่นฐานอยู่ริมแม่น้ำ และใช้วิธีสัญจรทางน้ำเป็นหลัก อีกทั้งยังทำการค้าขายพายเรือขายของ แลกเปลี่ยนสินค้าอีกด้วย คนพายเรือขายของในสมัยนั้นจะเป็นผู้หญิง เพราะผู้ชายไทยต้องรับราชการทหาร จึงเป็นที่มาของคำเรียก "แม่ค้า" และชายชาวจีนที่เดินทางมาค้าขายทั่วราชอาณาจักร จะเรียกว่า "พ่อค้า" ตลาดน้ำจึงเป็นภาพสะท้อนวิถีชีวิต ความเคลื่อนไหว และบริบททางสังคมของผู้คนย่านริมน้ำได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันมีการจำลองภาพของตลาดน้ำเพื่อการอนุรักษ์และการท่องเที่ยว

เด็กชายนุ่งโจงกระเบนไว้ผมจุกกำลังขี่ควายเพื่อนรัก และมีนกเอี้ยงมาเกาะแวะทักทาย สะท้อนวิถีชีวิตชาวบ้านชนบทของไทย เด็กจะมีหน้าที่เลี้ยงควาย เรียกกันว่า "เด็กเลี้ยงควาย" จะนำควายไปอาบน้ำ กินหญ้า ซึ่งคนกับควาย มีความผูกพันมาตั้งแต่สมัยโบราณ ควายถูกใช้เป็นพาหนะ ใช้แรงงานเพื่อการทำนา และควายยังเป็นเหมือนมิตรสหาย คนในอดีตจึงยกย่องควาย ไม่ฆ่า ไม่กินเนื้อ แต่อยู่ดูแลมันจนแก่เฒ่า ปัจจุบันภาพเหล่านี้หาดูได้ยาก จึงเกิดเป็นแรงบันดาลใจของภาพนี้เพื่ออนุรักษ์วิถีชีวิตพื้นถิ่นเอาไว้ให้คนรุ่นหลัง

มังคุดเป็นผลไม้ที่ขึ้นในเขตร้อน สันนิษฐานว่ามีต้นกำเนิดมาจากหมู่เกาะซุนดาและหมู่เกาะโมลุกกะ ก่อนแพร่กระจายปลูกทั่วไปในหมู่เกาะอินเดียตะวันออกฟิลิปปินส์ตอนใต้ พม่า มาเลเซีย อินเดียตะวันตกเฉียงใต้ ศรีลังกา และไทย นอกจากนี้ในสมัยอยุธยายังเป็นผลไม้ที่ไว้ตอนรับราชทูตชางลังกาดังปรากฏในจดหมายเหตุ และในบริเวณโรงพยาบาลศิริราชยังเป็นที่ตั้งของวังชื่อว่า "วังสวนมังคุด" อีกด้วย มังคุดเป็นไม้ยืนต้น ผลเนื้อสีขาว มีรสเปรี้ยวอมหวาน มีสรรพคุณทางยาในการช่วยชะลอวัย ต่อต้านอนุมูลอิสระอีกด้วย

ประเพณี "ผีตาโขน" ศิลปะภายใต้หน้ากาก สะท้อนวิถีชีวิตและความเชื่อของคนจังหวัดเลย ซึ่งเป็นการละเล่นที่อยู่ใน "'งานบุญหลวง" หรือ "งานบุญผะเหวด" สันนิษฐานกันว่าผีตาโขนมาจากเรื่องพระเวสสันดรชาดก ตอนพระเวสสันดรและพระนางมัทรีออกจากป่ากลับสู่เมือง บรรดาสัตว์และผีป่าแฝงมากับชาวบ้านเพื่อมารอส่งกลับบ้าน จึงเรียกว่า "ผีตามคน" และเพี้ยนมาเป็น "ผีตาโขน" ชาวบ้านทั้งเด็ก ผู้ใหญ่และวัยรุ่นช่วยกันระบายสีตกแต่งหน้ากากที่ทำจากกาบมะพร้าวให้เป็นรูปผีน่ากลัว และนำหวบมาสวมหัว มีกระดิ่งแขวนคอวัวห้อยให้เกิดเสียงดังเวลาเดิน เดินขบวนแห่เล่นหยอกล้อกับชาวบ้าน สร้างความสนุกสนาน ขบขัน

en
th

"วิเชียรมาศ" หรือ แมวสยาม คำว่าวิเชียรมาศ แปลว่า เพชรแห่งดวงจันทร์ สมัยอยุธยามีการเลี้ยงแมววิเชียรมาศโดยเชื่อว่าคือแมวมงคล เลี้ยงแล้วนำโชคลาภมาให้ผู้เลี้ยง ซึ่งวิเชียรมาศมีชื่อเสียงโด่งดังในต่างประเทศ เพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ทรงพระราชทานลูกแมวคู่หนึ่งให้แก่ทูตอังกฤษ ให้เลี้ยงดูอย่างดีจนมีโอกาสได้เข้าประกวดในเวที The Crytal Palace Landon Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat. Duis aute irure dolor in reprehenderit in voluptate velit esse cillum dolore eu fugiat nulla pariatur. Excepteur sint occaecat cupidatat non proident, sunt in culpa qui officia deserunt mollit anim id est laborum.

"ภาพลิงแม่ค้ากำลังพายเรือขายผลไม้ สื่อให้เห็นถึงวิถีชีวิตของคนไทยในอดีต ที่มักจะตั้งถิ่นฐานอยู่ริมแม่น้ำ และใช้วิธีสัญจรทางน้ำเป็นหลัก อีกทั้งยังทำการค้าขายพายเรือขายของ แลกเปลี่ยนสินค้าอีกด้วย คนพายเรือขายของในสมัยนั้นจะเป็นผู้หญิง เพราะผู้ชายไทยต้องรับราชการทหาร จึงเป็นที่มาของคำเรียก "แม่ค้า" และชายชาวจีนที่เดินทางมาค้าขายทั่วราชอาณาจักร จะเรียกว่า "พ่อค้า"Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat. Duis aute irure dolor in reprehenderit in voluptate velit esse cillum dolore eu fugiat nulla pariatur. Excepteur sint occaecat cupidatat non proident, sunt in culpa qui officia deserunt mollit anim id est laborum.

เด็กชายนุ่งโจงกระเบนไว้ผมจุกกำลังขี่ควายเพื่อนรัก และมีนกเอี้ยงมาเกาะแวะทักทาย สะท้อนวิถีชีวิตชาวบ้านชนบทของไทย เด็กจะมีหน้าที่เลี้ยงควาย เรียกกันว่า "เด็กเลี้ยงควาย" จะนำควายไปอาบน้ำ กินหญ้า ซึ่งคนกับควาย มีความผูกพันมาตั้งแต่สมัยโบราณ ควายถูกใช้เป็นพาหนะ ใช้แรงงานเพื่อการทำนา และควายยังเป็นเหมือนมิตรสหาย คนในอดีตจึงยกย่องควาย ไม่ฆ่า ไม่กินเนื้อ แต่อยู่ดูแลมันจนแก่เฒ่าLorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat. Duis aute irure dolor in reprehenderit in voluptate velit esse cillum dolore eu fugiat nulla pariatur. Excepteur sint occaecat cupidatat non proident, sunt in culpa qui officia deserunt mollit anim id est laborum.

มังคุดเป็นผลไม้ที่ขึ้นในเขตร้อน สันนิษฐานว่ามีต้นกำเนิดมาจากหมู่เกาะซุนดาและหมู่เกาะโมลุกกะ ก่อนแพร่กระจายปลูกทั่วไปในหมู่เกาะอินเดียตะวันออกฟิลิปปินส์ตอนใต้ พม่า มาเลเซีย อินเดียตะวันตกเฉียงใต้ ศรีลังกา และไทย นอกจากนี้ในสมัยอยุธยายังเป็นผลไม้ที่ไว้ตอนรับราชทูตชางลังกาดังปรากฏในจดหมายเหตุ และในบริเวณโรงพยาบาลศิริราชยังเป็นที่ตั้งของวังชื่อว่า "วังสวนมังคุด" อีกด้วยLorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat. Duis aute irure dolor in reprehenderit in voluptate velit esse cillum dolore eu fugiat nulla pariatur. Excepteur sint occaecat cupidatat non proident, sunt in culpa qui officia deserunt mollit anim id est laborum.

ประเพณี "ผีตาโขน" ศิลปะภายใต้หน้ากาก สะท้อนวิถีชีวิตและความเชื่อของคนจังหวัดเลย ซึ่งเป็นการละเล่นที่อยู่ใน "'งานบุญหลวง" หรือ "งานบุญผะเหวด" สันนิษฐานกันว่าผีตาโขนมาจากเรื่องพระเวสสันดรชาดก ตอนพระเวสสันดรและพระนางมัทรีออกจากป่ากลับสู่เมือง บรรดาสัตว์และผีป่าแฝงมากับชาวบ้านเพื่อมารอส่งกลับบ้าน จึงเรียกว่า "ผีตามคน" และเพี้ยนมาเป็น "ผีตาโขน" Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat. Duis aute irure dolor in reprehenderit in voluptate velit esse cillum dolore eu fugiat nulla pariatur. Excepteur sint occaecat cupidatat non proident, sunt in culpa qui officia deserunt mollit anim id est laborum.